“ข้อกังวลเมื่อ 5G เปิดให้บริการเต็มรูปแบบ และมาตรการความปลอดภัยทางไซเบอร์ในการรับมือการโจมตีอุปกรณ์ประเภท IoT จำนวนมหาศาล ทั้งระดับพื้นฐานตามบ้านออฟฟิศรวมถึงในงานอุตสาหกรรมที่มีโอกาสจะถูกโจมตีทางไซเบอร์ได้อย่างง่ายดาย
Dr.Pairoj Dhamsinsuwan

ICT Trend Watch (ตอนที่ 65) จุดที่ควรพิจารณาในทางปฏิบัติเพื่อเตรียมเปิด 5G ผ่านกรณีศึกษาในต่างประเทศ

“ขอออกความเห็นเกี่ยวกับจุดที่ควรพิจารณาในทางปฏิบัติเพื่อเตรียมเปิด 5G สิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องในอีโคซีสเต็มของ 5G ได้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง การใช้หลักการเดิมสำหรับการลงมือวางโครงข่าย 5G จะไม่ตอบโจทย์อีกต่อไป ภาครัฐจะต้องเข้าใจเกณฑ์ตัวชี้วัดที่เปลี่ยนไปหลักจากเอกชนได้ใบอนุญาต 5G”

“ผู้เขียนขอนำประสบการณ์ในการเตรียมตัวเข้าสู่บริการ 5G ของแต่ละประเทศ โดยเริ่มจากตัวอย่างความคืบหน้าของการเตรียมตัวเข้าสู่ 5G ของญี่ปุ่นกันเพื่อเป็นหนึ่งในข้อมูลประกอบการพิจารณาในการเข้าสู่ยุค 5G ของบ้านเรา”

“เทคโนโลยีรู้จำใบหน้า (Facial Recognition Technology) เริ่มมีการใช้งานแพร่หลายมากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะได้รับความนิยมไปประยุกต์ใช้ในหลายๆ กรณี โดยเฉพาะในระดับองค์กรธุรกิจ บริการภาครัฐ และความปลอดภัยสารธารณะ”

“เห็นความตื่นตัวเรื่อง 5G ในประเทศไทยจากทุกภาคส่วนทั้งรัฐและเอกชน ทำให้รู้สึกตื่นเต้นตามไปด้วย เลยอยากชวนผู้อ่านให้มาลองศึกษาการประยุกต์ใช้งานจริงในประเทศญี่ปุ่น โอกาสแห่งความเป็นไปได้ และความเหมาะสมกับประเทศไทย”

“ดูการผลักดันบริการ 5G ของญี่ปุ่น ก่อนที่จะถึงดีเดย์ในปี 2020 ทั้งประเทศกำลังร่วมมือกันพัฒนาเพื่อให้เกิดบริการภายใต้การสื่อสารความเร็วสูงนั้น การเปิด 5G Open Partner Programบนอีโคซีสเต็มจริงเป็นแผนที่จะทำให้ญี่ป่นมีบริการที่สอดรับ 5G เมื่อถึงวันที่ต้องใช้งาน”

“ผู้เขียนขอแนะนำข้อพิจารณาแบบเข้าใจง่ายๆ ที่ผู้บริหารควรทราบในการประเมินสิ่งที่องค์กรของเราอย่างน้อยควรมีว่าเพียงพอที่จะเป็นมาตรการรับมือภัยคุกคามทางไซเบอร์ขั้นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงสถานะปัจจุบันของระดับความปลอดภัยทางไซเบอร์ในภาพรวมขององค์กร”

“ประเทศญี่ปุ่นเอง มีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการสร้างกลไกเพื่อช่วยในการแชร์ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วที่มีชื่อว่า J-CSIP เพื่อแชร์ข้อมูลระหว่างหน่วยงานหรือองค์กรที่เข้าร่วม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการจัดการการโจมตีทางไซเบอร์ที่ซับซ้อน”

“ผู้เขียนขอให้ข้อคิดสำหรับการสร้างศูนย์บูรณาการข้อมูลเพื่อ Safe City มันมีรายละเอียดในหลายมิติ ทั้งเรื่องของเทคโนโลยีเก่า-ใหม่ การทำงานแบบสอดประสานระหว่างองค์กร ทักษะของบุคลากร ที่ต้องอยู่ภายใต้หลักการและแนวคิดที่ถูกต้องของผู้บริหาร”

“หลายองค์กรตั้งหน่วยงานรับผิดชอบการดูแลความปลอดภัยทางไซเบอร์ซีเซิร์ต หรือ CSIRT แต่ขาดการฝึกซ้อมสร้างประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริง ลองดูวิธีการของประเทศญี่ปุ่น กับแนวปฏิบัติในเรื่องนี้เพื่อรับมือการโจมตีทางไซเบอร์”