ผู้เขียนในฐานะนักวิชาการความมั่นคงทางด้านไซเบอร์ ขอแชร์อีกมุมมองหนึ่งต่อเหตุการณ์อาชญากรรมไซเบอร์ ซึ่งไม่ได้ส่งผลกระทบในโลกไซเบอร์เท่านั้น มันมีมิติความสัมพันธ์ของคน สังคม องค์กร เศรษฐกิจ การเมือง และประเทศ ที่สร้างความเสียหายรุนแรงให้เกิดขึ้นได้
Apisith Chaiyaprasith
- การแฮคข้อมูล อย่าคิดว่าเป็นแค่อาชญากรรมทางไซเบอร์ อยู่ที่เรามองมุมไหน ผู้เขียนในฐานะนักวิชาการความมั่นคงทางด้านไซเบอร์ ขอแชร์อีกมุมมองหนึ่งต่อเหตุการณ์อาชญากรรมไซเบอร์ ซึ่งไม่ได้ส่งผลกระทบในโลกไซเบอร์เท่านั้น มันมีมิติความสัมพันธ์ของคน สังคม องค์กร เศรษฐกิจ การเมือง และประเทศ ที่สร้างความเสียหายรุนแรงให้เกิดขึ้นได้...
- เทคโนโลยี จิตอาสา รัฐร่วมสังคม เส้นทางร่วมเพื่อการอยู่รอด ขอพูดถึง ความสัมพันธ์ของ 3 ประสานระหว่าง เทคโนโลยี จิตอาสา และรัฐร่วมสังคมผ่านกรณีที่เกิดไฟไหม้โรงงานผลิตเม็ดโฟมพลาสติก ที่สามารถใช้เป็นโมเดลในการแก้ไขวิกฤติครั้งไหนๆ ให้คลี่คลายลงได้...
- Clubhouse เครื่องมือขับเคลื่อนสังคมตัวใหม่ กับความเป็น พาหุสัจจะ (ตอนที่ 2 จบ) การใช้ Clubhouse กับความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยทางไซเบอร์ สิ่งสำคัญที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อสาร คือ การใช้ Clubhouse กับความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยทางไซเบอร์ ที่ต้องพยายามสื่อกับสังคมทุกครั้งเมื่อมีบริการดิจิทัลใหม่ๆ เกิดขึ้น ซึ่งการใช้แนวทางแห่ง พาหุสัจจะ จะเป็นเครื่องป้องกันและกรองสาระเอามาใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ได้ยิน...
- Clubhouse เครื่องมือขับเคลื่อนสังคมตัวใหม่ กับความเป็น พาหุสัจจะ (ตอนที่ 1) จับกระแสความแรงของ Clubhouse Clubhouse ถูกออกแบบมาให้ตอบโจทย์และแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น มันเป็นสูตรผสมระหว่างการโทรประชุมออนไลน์ การร่วมชุมชนเสมือนและการฟังวิทยุสดที่เหมาะสำหรับคนคอนเทนต์เอาไว้ปล่อยของ และคนชอบฟังนั่นเอง...
- อย่าคิดว่า Ransomware จะเป็นแค่ภัยคุกคามทางไซเบอร์เพียงอย่างเดียว ประเทศของเรากำลังเผชิญหน้ากับภัยคุกคามอยู่เสมอมา ไม่ว่าจะเป็นการกดดันทางการค้า การชะลอการลงทุน การแทรกแซงทางการเมืองในประเทศ ผ่านกลุ่มการเมืองหรือมวลชนบางกลุ่ม เนื่องมาจากความขัดแย้งทางการเมืองที่สะสมมานาน ผนวกกับความขัดแย้งเชิงโครงสร้างอันมาจากชนชั้น ศรัทธา ความเชื่อ จึงทำให้ประเทศไทยของเราในยามนี้ดูบอบบางและอ่อนแอ ก็คงมีแต่คนไทยด้วยกันที่จะผสานความสามัคคีจึงจะผ่านวิกฤตนี้ไปได้...

ขอพูดถึง ความสัมพันธ์ของ 3 ประสานระหว่าง เทคโนโลยี จิตอาสา และรัฐร่วมสังคมผ่านกรณีที่เกิดไฟไหม้โรงงานผลิตเม็ดโฟมพลาสติก ที่สามารถใช้เป็นโมเดลในการแก้ไขวิกฤติครั้งไหนๆ ให้คลี่คลายลงได้

สิ่งสำคัญที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อสาร คือ การใช้ Clubhouse กับความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยทางไซเบอร์ ที่ต้องพยายามสื่อกับสังคมทุกครั้งเมื่อมีบริการดิจิทัลใหม่ๆ เกิดขึ้น ซึ่งการใช้แนวทางแห่ง พาหุสัจจะ จะเป็นเครื่องป้องกันและกรองสาระเอามาใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ได้ยิน

หลัง COVID-19 เราต้องผ่านวิกฤตของวงการการศึกษานี้ไปด้วย และเริ่มต้นใหม่ ในยุค New Normal ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา สถานศึกษา ต้องจับมือเดินหน้าไปพร้อมกัน สร้างมิติใหม่ของการศึกษาชาติ ให้เข้าถึง เยาวชน อย่างเท่าเทียมกัน

ผู้เขียนในฐานะที่เคยทำงานในวงการเทคโนโลยีการศึกษาหรือ e-Learning มานานกว่า 20 ปี และวงการดิจิทัลมีเดีย อยากจะถอดบทเรียนให้เห็นจากเหตุการณ์วิกฤตการศึกษาไทยยุค COVID-19 ที่จะต้องได้รับการแก้ไข ในอนาคต

จากวิกฤต COVID-19 ที่เกิดขึ้น เกิดภาคบังคับสำหรับองค์กรต้องก้าวออกจาก Comfort Zone ไปสู่การทำ Work From Home ด้วยแพลตฟอร์มเทคโนโลยีต่างๆแม้กระทั่งการนำ AI มาใช้ในการวิเคราะห์และคาดการณ์ การขยายตัวอัตราการระบาดของโรคในอนาคต สิ่งเหล่านี้คือการปรับเปลี่ยนที่จะทำให้ก้าวสู่ Digital Transformation ของจริง

“ความกังวลต่อการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่และไซเบอร์ ต่อการปฏิบัติการทางทหารด้วยสงครามแห่งอนาคต สงครามเครือข่าย Network Centric Warfare และสงครามไซเบอร์ Cyberwar”